-
เรื่องล่าสุด
-
มะเร็งคืออะไร
กันยายน 29, 2010 By admin -
ต้นหอมผักข้างจานป้องกันมะเร็ง
ตุลาคม 30, 2013 By admin -
ผักติ้วหรือผักแต้วต้านมะเร็ง
ตุลาคม 25, 2013 By admin -
แกงกะหรี่ช่วยสกัดมะเร็ง
ตุลาคม 20, 2013 By admin -
จัดฟันแฟชั่นเสี่ยงมะเร็ง
ตุลาคม 15, 2013 By admin -
ของดองกับมะเร็ง
ตุลาคม 10, 2013 By admin -
มะเร็งกับน้ำอัดลม
ตุลาคม 05, 2013 By admin -
แมวเหมียวกับมะเร็งสมอง
กันยายน 30, 2013 By admin -
ก๋วยเตี๋ยวน้ำใสใส่มะเร็ง
กันยายน 25, 2013 By admin -
กางเกงขายาวกับมะเร็งปากมดลูก
กันยายน 20, 2013 By admin -
อั้นอึเสี่ยงเป็นมะเร็งลำใส้ใหญ่
กันยายน 15, 2013 By admin -
น้ำเชื่อมเมเปิลยับยั้งมะเร็ง
กันยายน 10, 2013 By admin -
วิตามินซีจาก “กีวี” ยับยั้งมะเร็งได้
กันยายน 05, 2013 By admin -
อะโวคาโดสารพันประโยชน์
สิงหาคม 30, 2013 By admin -
แก้วมังกรมากคุณค่า
สิงหาคม 25, 2013 By admin -
พิษเทฟลอนก่อโรคมะเร็ง
สิงหาคม 20, 2013 By admin -
ต้านมะเร็งลำไส้ดัวยไก่
สิงหาคม 15, 2013 By admin -
ความมืดต้านมะเร็ง
สิงหาคม 10, 2013 By admin -
ป๊อปคอร์นต้านมะเร็งได้
สิงหาคม 05, 2013 By admin -
ต้นอ่อนข้าวสาลีป้องกันมะเร็ง
กรกฎาคม 30, 2013 By admin -
แยมและเยลลี่ช่วยต้านมะเร็ง
กรกฎาคม 25, 2013 By admin -
พลับยับยั้งมะเร็ง
กรกฎาคม 20, 2013 By admin -
ถั่วหลากชนิดมีฤทธิ์ต้านมะเร็ง
กรกฎาคม 15, 2013 By admin -
ช็อกโกแลตป้องกันมะเร็ง
กรกฎาคม 10, 2013 By admin -
ทับทิมยับยั้งมะเร็ง
กรกฎาคม 05, 2013 By admin -
ประจำเดือนหมดไวห่างไกลมะเร็ง
มิถุนายน 30, 2013 By admin -
เมล็ดลำไยป้องกันมะเร็ง
มิถุนายน 25, 2013 By admin -
ผักสีขาวต้านมะเร็ง
มิถุนายน 20, 2013 By admin -
ต้นติ้วขนยับยั้งมะเร็ง
มิถุนายน 15, 2013 By admin -
มะเร็งกล่องเสียง
มิถุนายน 10, 2013 By admin -
ควันบั้งไฟเสี่ยงมะเร็ง
มิถุนายน 05, 2013 By admin -
พริกลดความเสี่ยงมะเร็ง
พฤษภาคม 30, 2013 By admin -
สารต่อต้านเซลล์มะเร็งจากแมลง
พฤษภาคม 25, 2013 By admin -
ข้าวโพดสีม่วงต้านมะเร็ง
พฤษภาคม 20, 2013 By admin -
ทานหมูอย่างไร…ไ่ม่เสี่ยงมะเร็ง
พฤษภาคม 15, 2013 By admin -
โปรตีนเกษตรทานได้!ไม่เสี่ยงมะเร็ง
พฤษภาคม 10, 2013 By admin -
เสื้อในกับมะเร็งเต้านม
พฤษภาคม 05, 2013 By admin
-
มะระขี้นกสมุนไพรรักษาโรคมะเร็ง

มะระขี้นก มะระ(ไทย)
Momordica charantia Linn.Cucurbitaceae
.
ลักษณะของพืช
ไม้เถา มีมือเกาะ ใบเดี่ยวเรียงสลับรูปฝ่ามือกว้างยาวประมาณ 4-7 เซนติเมตร ขอบใบเว้า เป็นแฉกลึก 5-7 แฉก ดอกเดี่ยวออกที่ซอกใบแยกเพศอยู่บนต้นเดียวกัน กลีบดอกสีเหลืองรูประฆัง ผลเป็นรูปกระสวย ผิวขรุขระ มีรสขม
.
มะระขี้นกมี 2 ชนิด
มะระขี้นก (มะระไทย) คือมะระที่มีผลเล็กๆ สั้นป้อม หัวแหลม ท้ายแหลม ผลยาวประมาณ 2-3 นิ้ว ผิวผลขรุขระ สีเขียวแก่ รสขมจัดกว่ามะระจีน มะระชนิดนี้เป็นพืชพันธุ์ของเมืองไทยแท้และเป็นชนิดที่มีสรรพคุณทางยา
มะระจีน ผลยาวใหญ่ สีขาวอมเขียว ผิวขรุขระร่องใหญ่ ผลยาวประมาณ 4-9 นิ้ว (อาจถึง 10-12 นิ้ว)
.
การศึกษาองค์ประกอบทางเคมี
ทั้งต้น : alkaloids, saponin และสารผสม sterols ชื่อ charantin
เมล็ด : โปรตีนหลายชนิด ได้แก่
- MAP 30 (30 KDa)
- mormodin (24 KDa)
- Mormordica charantia agglutinin (32 KDa)
- Mormordica charantia lectin (115 KDa)
- Mormordica charantia inhibitor (23 KDa)
- Mormordica charantia cytostatic factor (40 KDa)
- a-momorcharin (32 KDa)
- b- momorcharin (29 KDa)
- p- insulin (11 KDa)
- amino acid เช่น a-aminobutyric acid
triterpenes ได้แก่
- momordicoside A-E
- vicine
ผล : alkaloids saponin amino acid (citrulline) 5-hydroxytryptamine (sterols)(charantin b-sitosterol stigmasterol acylglucosyl sterols) triterpine (cucurbitacin glycosides, momordicoside F1, F2, G, I, K และ L) polypeptide (p-insulin)
ใบ : triterpenes ได้แก่
- momordicine
- momordicine I, II, III
- cucurbitan-triterpenes (III, IV, V)
ราก : alkaloids ชนิดหนึ่งชื่อ momordicine และ saponin
.
การศึกษาทางเภสัชวิทยา
คุณสมบัติทางเภสัชวิทยาที่สำคัญของมะระที่กำลังได้รับความสนใจ ในปัจจุบัน คือ คุณสมบัติลดน้ำตาลในเลือด ต้านมะเร็ง และต้านไวรัส HIV
ผลการลดน้ำตาลในเลือด มีการศึกษาวิจัยผลมะระทั้งในสัตว์ทดลอง (กระต่าย) และในมนุษย์โดยใช้สารสกัดชนิดต่างๆ ได้แก่สารสกัดด้วย 95% akcohol น้ำ น้ำคั้น และยาชง พบว่าให้ผลลดน้ำตาลในเลือดได้ โดยกระตุ้นการหลั่งและเหนี่ยวนำอินซูลิน
องค์ประกอบทางเคมีในมะระที่ให้ผลลดน้ำตาลในเลือดเท่าที่มีการศึกษา ได้แก่ p-insulin ซึ่งแยกได้จากผลและเมล็ด เป็นโปรตีนที่มีน้ำหนักและโมเลกุลประมาณ 11,000 daltons ประกอบด้วย amino acid 166 โมเลกุล charantin ซึ่งเป็นสารผสม sterols แยกได้จากผลและเมล็ด และ vicine ซึ่งแยกได้จากเมล็ด นอกจากนั้นยังพบ Momordica charantin lectin ที่แยกได้จากเมล็ดให้ผลเป็น insulinomimetic agent
ผลต้านมะเร็ง เป็นการศึกษาใน cell line เช่น human lymphoblast, human leukemic lymphocyte, melanoma-b cell-M9 เป็นต้น และการศึกษาในสัตว์ทดลอง (mice) โดยใช้ LEUK-L1210
องค์ประกอบทางเคมีที่มีการศึกษาผลต้านมะเร็ง ได้แก่ guanylate cyclase inhibitor ซึ่งสกัดได้จากผลสุก MAP 30 สกัดจาก ผลสุกและเมล็ดในผลสุก a-momorcharin, b- momorcharin , Momordica charantia cytostatic factor ซึ่งแยกจากเมล็ด carotene, beta:5-6 epoxide ใน pericap stigmasta-5-25-diene-3b-6′ , 3-O-(6′-O-palmitoyl-b-D-glucosyl) และ stigmasta-5-25-diene-3b-ol, 3-O-(6′-O-stearoyl-b-D-glucosyl) ในผลดิบ
.
คุณสมบัติต้าน HIV
มะระขี้นกเป็นหนึ่งในสมุนไพรที่มีรายงานว่ามีกลุ่มสารโปรตีนที่มีคุณสมบัติยับยั้งเชื้อ HIV จากรายงานโปรตีนในเมล็ดมะระที่น่าสนใจคือ โปรตีนที่เป็น Ribosome Inactivating Proteins (RIPs) ที่มีขนาดโมเลกุล 30 kD โปรตีนที่มีชื่อว่า MAP30 MAP30 มีฤทธิ์ต้านไวรัส HIV ในหลอดทดลอง โดยยับยั้งการติดเชื้อด้วยขบวนการยับยั้งการเกิด syncytium ระหว่างเซลล์เม็ดเลือดขาวที่ติดเชื้อ HIV กับเซลล์ใหม่ นอกจากนั้นยังมีผลยับยั้งการขยายพันธุ์ของไวรัส HIV โดยยับยั้งเอนไซม์ HIV Reverse Transcriptase และ integrase และยับยั้งการสร้าง viral core protein ของเชื้อ HIV
นอกจากนี้ยังมีฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาอื่นๆ อีก ได้แก่ ต้านเชื้อไวรัส แบคทีเรีย ยีสต์ โปรโตซัว มาลาเรีย ฆ่าพยาธิ แมลงและตัวอ่อน ลดการอักเสบ แก้ปวด ต้านออกซเดชั่น และยับยั้งการเกิด lipid peroxidation ยับยั้งการสังเคราะห์ DNA, RNA, โปรตีน
Momordica charantia Linn.Cucurbitaceaeลักษณะของพืชไม้เถา มีมือเกาะ ใบเดี่ยวเรียงสลับรูปฝ่ามือกว้างยาวประมาณ 4-7 เซนติเมตร ขอบใบเว้า เป็นแฉกลึก 5-7 แฉก ดอกเดี่ยวออกที่ซอกใบแยกเพศอยู่บนต้นเดียวกัน กลีบดอกสีเหลืองรูประฆัง ผลเป็นรูปกระสวย ผิวขรุขระ มีรสขมมะระขี้นกมี 2 ชนิดมะระขี้นก (มะระไทย) คือมะระที่มีผลเล็กๆ สั้นป้อม หัวแหลม ท้ายแหลม ผลยาวประมาณ 2-3 นิ้ว ผิวผลขรุขระ สีเขียวแก่ รสขมจัดกว่ามะระจีน มะระชนิดนี้เป็นพืชพันธุ์ของเมืองไทยแท้และเป็นชนิดที่มีสรรพคุณทางยามะระจีน ผลยาวใหญ่ สีขาวอมเขียว ผิวขรุขระร่องใหญ่ ผลยาวประมาณ 4-9 นิ้ว (อาจถึง 10-12 นิ้ว)การศึกษาองค์ประกอบทางเคมีทั้งต้น : alkaloids, saponin และสารผสม sterols ชื่อ charantinเมล็ด : โปรตีนหลายชนิด ได้แก่- MAP 30 (30 KDa)- mormodin (24 KDa)- Mormordica charantia agglutinin (32 KDa)- Mormordica charantia lectin (115 KDa)- Mormordica charantia inhibitor (23 KDa)- Mormordica charantia cytostatic factor (40 KDa)- a-momorcharin (32 KDa)- b- momorcharin (29 KDa)- p- insulin (11 KDa)- amino acid เช่น a-aminobutyric acidtriterpenes ได้แก่- momordicoside A-E- vicineผล : alkaloids saponin amino acid (citrulline) 5-hydroxytryptamine (sterols)(charantin b-sitosterol stigmasterol acylglucosyl sterols) triterpine (cucurbitacin glycosides, momordicoside F1, F2, G, I, K และ L) polypeptide (p-insulin)ใบ : triterpenes ได้แก่- momordicine- momordicine I, II, III- cucurbitan-triterpenes (III, IV, V)ราก : alkaloids ชนิดหนึ่งชื่อ momordicine และ saponinการศึกษาทางเภสัชวิทยาคุณสมบัติทางเภสัชวิทยาที่สำคัญของมะระที่กำลังได้รับความสนใจ ในปัจจุบัน คือ คุณสมบัติลดน้ำตาลในเลือด ต้านมะเร็ง และต้านไวรัส HIVผลการลดน้ำตาลในเลือด มีการศึกษาวิจัยผลมะระทั้งในสัตว์ทดลอง (กระต่าย) และในมนุษย์โดยใช้สารสกัดชนิดต่างๆ ได้แก่สารสกัดด้วย 95% akcohol น้ำ น้ำคั้น และยาชง พบว่าให้ผลลดน้ำตาลในเลือดได้ โดยกระตุ้นการหลั่งและเหนี่ยวนำอินซูลินองค์ประกอบทางเคมีในมะระที่ให้ผลลดน้ำตาลในเลือดเท่าที่มีการศึกษา ได้แก่ p-insulin ซึ่งแยกได้จากผลและเมล็ด เป็นโปรตีนที่มีน้ำหนักและโมเลกุลประมาณ 11,000 daltons ประกอบด้วย amino acid 166 โมเลกุล charantin ซึ่งเป็นสารผสม sterols แยกได้จากผลและเมล็ด และ vicine ซึ่งแยกได้จากเมล็ด นอกจากนั้นยังพบ Momordica charantin lectin ที่แยกได้จากเมล็ดให้ผลเป็น insulinomimetic agentผลต้านมะเร็ง เป็นการศึกษาใน cell line เช่น human lymphoblast, human leukemic lymphocyte, melanoma-b cell-M9 เป็นต้น และการศึกษาในสัตว์ทดลอง (mice) โดยใช้ LEUK-L1210องค์ประกอบทางเคมีที่มีการศึกษาผลต้านมะเร็ง ได้แก่ guanylate cyclase inhibitor ซึ่งสกัดได้จากผลสุก MAP 30 สกัดจาก ผลสุกและเมล็ดในผลสุก a-momorcharin, b- momorcharin , Momordica charantia cytostatic factor ซึ่งแยกจากเมล็ด carotene, beta:5-6 epoxide ใน pericap stigmasta-5-25-diene-3b-6′ , 3-O-(6′-O-palmitoyl-b-D-glucosyl) และ stigmasta-5-25-diene-3b-ol, 3-O-(6′-O-stearoyl-b-D-glucosyl) ในผลดิบคุณสมบัติต้าน HIVมะระขี้นกเป็นหนึ่งในสมุนไพรที่มีรายงานว่ามีกลุ่มสารโปรตีนที่มีคุณสมบัติยับยั้งเชื้อ HIV จากรายงานโปรตีนในเมล็ดมะระที่น่าสนใจคือ โปรตีนที่เป็น Ribosome Inactivating Proteins (RIPs) ที่มีขนาดโมเลกุล 30 kD โปรตีนที่มีชื่อว่า MAP30 MAP30 มีฤทธิ์ต้านไวรัส HIV ในหลอดทดลอง โดยยับยั้งการติดเชื้อด้วยขบวนการยับยั้งการเกิด syncytium ระหว่างเซลล์เม็ดเลือดขาวที่ติดเชื้อ HIV กับเซลล์ใหม่ นอกจากนั้นยังมีผลยับยั้งการขยายพันธุ์ของไวรัส HIV โดยยับยั้งเอนไซม์ HIV Reverse Transcriptase และ integrase และยับยั้งการสร้าง viral core protein ของเชื้อ HIVนอกจากนี้ยังมีฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาอื่นๆ อีก ได้แก่ ต้านเชื้อไวรัส แบคทีเรีย ยีสต์ โปรโตซัว มาลาเรีย ฆ่าพยาธิ แมลงและตัวอ่อน ลดการอักเสบ แก้ปวด ต้านออกซเดชั่น และยับยั้งการเกิด lipid peroxidation ยับยั้งการสังเคราะห์ DNA, RNA, โปรตีน
ใส่ความเห็น
คุณต้องเข้าสู่ระบบ เพื่อจะพิมพ์ความเห็น